ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

 

1.       รหัสวิชา                                           2301451

2.       จำนวนหน่วยกิต (Course Credit)           3

3.       ชื่อวิชา (Course Title)                          Software Testing

4.       คณะ/ภาควิชา                                    วิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์

5.       ภาคการศึกษา                                   ต้น

6.       ปีการศึกษา                                       2549

7.       ชื่อผู้สอน                                          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมใจ  บุญศิริ 

                                                                                Email: Somjai.B@chula.ac.th

8.       เงื่อนไขรายวิชา                                 

8.1.     รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน         2301367  ( 2301473 เดิม)

8.2.     รายวิชาบังคับร่วม                       -

8.3.     รายวิชาควบ                                    -

9.       สถานภาพของวิชา                              วิชาเลือก กลุ่ม CS I

10.    ชื่อหลักสูตร                                       วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

11.    วิชาระดับ                                         ปริญญาตรี

12.    จำนวนชั่วโมงที่สอนต่อสัปดาห์               3

13.    เนื้อหารายวิชาตามที่ปรากฏในหลักสูตร    Fundamentals of software testing;  software testing techniques;  levels of testing;  integration testing; other testing perspectives.

14.    ประมวลการเรียนรายวิชา (Course Outline)  กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ

14.1.     วัตถุประสงค์ทั่วไป และ/หรือ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เพื่อให้นิสิตสามารถ

1. อธิบายหลักเกณฑ์การทดสอบซอฟต์แวร์

2.  อธิบายพื้นฐานของการทดสอบซอฟต์แวร์ที่เป็นระบบ

3.  ประยุกต์ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในการทดสอบ

4.  ประยุกต์ระเบียบวิธีในการทดสอบซอฟต์แวร์

14.2.     เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์

สัปดาห์ที่  1    Introduction                                                                                     

สัปดาห์ที่  2   Fundamental Metrics for Software Testing                                

สัปดาห์ที่  3   Functional testing                                                                           

สัปดาห์ที่  4   Structural testing

สัปดาห์ที่  5   Levels of Testing                                                                             

สัปดาห์ที่  6-7  Software Inspection                                                                     

สัปดาห์ที่  8   สอบกลางภาค

สัปดาห์ที่  9   Approaches to Managing Software Testing                              

สัปดาห์ที่  10   Test Case Design

สัปดาห์ที่  11   Testing Tools                                                                                 

สัปดาห์ที่  13   Test Planing and Test Documentation                                    

สัปดาห์ที่  14 – 15   Class Presentation

14.3.     วิธีจัดการเรียนการสอน                               

o       การบรรยาย-ซักถาม                            ร้อยละ 86.67

o       การนำเสนอ                                           ร้อยละ 13.33

14.4.     สื่อการสอน (อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งหมด)

o       สื่อนำเสนอในรูปแบบ Powerpoint  media และ Microsoft Word

14.5.     การมอบหมายงาน ผ่านระบบเครือข่าย

o       ข้อกำหนดวิธีการมอบหมายงานและส่งงาน

14.6.     การวัดผลการเรียน

o       การประเมินความรู้ทางวิชาการ          ร้อยละ 60

o       กิจกรรมในชั้นเรียน                                                ร้อยละ 10

o       การประเมินผลงานที่ได้มอบหมาย     ร้อยละ 30

15.    รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ

15.1.       หนังสือบังคับ                              

1.     Paul C. Jorgensen,  Software Testing :  A Craftman’ s Approach.  Second Edition. CRC Press, 2002.

15.2.      หนังสืออ่านเพิ่มเติม       

1.       Boris Beizer, Software Testing Techniques.  Van Nostrand Reinhold Electrical/Computer Science and Engineering Series, 1990.

2.       Elfriede Dustin, Jeff Rashka, and John Paul.  Automated Software Testing.  Addison-Wesley, 1999.

3.       William Hetzel,  Complete Guide to Software Testing.  John Wiley & Sons, Inc.,1993.

4.       Marnie L. Hutcheson, Software Testing Fundamentals. John Wiley & Sons, Inc., 2003.

5.       Cem Kaner, Jack Falk, and Hung Quoc Nguyen, Testing Computer Software. John Wiley & Sons, Inc.,1999.

6.       Ron Patton, Software Testing. Sams Publishing. 2001.

7.       Jeff Tian, Software Quality Engineering. John Wiley & Sons, Inc., Publication. 2005.

8.       James A. Whittaker,  How to Break Software : A Practical Guide to Testing.  Addison – Wesley,  2002.

9.       หนังสืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ

15.3.     บทความวิจัย (สามารถ download ได้จาก http://www.car.chula.ac.th/curef-db/slist.html#science)

1.       Erika Mir Olimpiew, Hassan Gomaa., Advances in Model-Based Testing (A-MOST 2005): Model-based testing for applications derived from software product lines.  ACM SIGSOFT Software Engineering Notes , Proceedings of the first international workshop on Advances in model-based testing A-MOST '05,  Volume 30 Issue 4  May 2005.

2.       Catherine V. Stringfellow, Duane Lee York. An Example of Practical Component Testing.  Journal of Computing Sciences in Colleges,  Volume 19 Issue 4. April 2004.

3.       Arkady Bron, Eitan Farchi, Yonit Magid, Yarden Nir, and Shmuel Ur. Applications of Synchronization Coverage. Proceedings of the tenth ACM SIGPLAN Symposium on Principles and practice on parallel programming, June 2005.

4.       Keith Miller and Jeffrey Voas. Software Test Cases: Is One Ever Enough? IEEE IT Professional. Volume 8, Issue 1,  Jan. – Feb. 2006. Page(s) 44-48.

5.       Tsong Yueh Chen, Fei-Ching Kuo, and Zhi Quan Zhou. Teaching Automated Test Case Generatioin. Proceedings of the Fifth International Conference on Quality Software (QSIC’05) 19-20 Sept. 2005. Page(s): 327-332.   

15.4.     สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

1.       www.sdbestpractices.com

2.       www.testingeducation.org

3.       www.sqe.com

4.       www.testingcenter.com

5.       www.softwareqatest.com

6.       www.mtsu.edu/~storm

7.       www.softwaretestinginstitute.com

16.    การประเมินผลการเรียนการสอน

16.1.     ใช้แบบการประเมินการสอนรูปแบบการบรรยาย (รูปแบบที่  4)

16.2.     การปรับปรุงจากผลการประเมินการสอนครั้งที่ผ่านมา

o     ปรับปรุงเอกสารการสอนและวิธีการสอน

16.3.     การอภิปรายหรือการวิเคราะห์ที่เสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

o       ให้นิสิตเสริมทักษะโดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์และนำมาเสนอในชั้นเรียน

o       เน้นให้นิสิตซื่อสัตย์ต่อตนเอง และไม่ลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน

 

------------------------------------