ระบบควบคุมสัญญาณไฟจราจรระบบ RONDO: กรณีศึกษาการติดตั้งโครงการนำร่อง จังหวัดภูเก็ต

RONDO (Rolling-Horizon Dynamic Optimization of Signal Control): A Case Study of Phuket Pilot Project

   

สราวุธ จันทร์สุวรรณ, Hajime Sakakibara และ เกษม ชูจารุกุล
Sarawut Jansuwan, Hajime Sakakibara and Kasem Choocharukul

   
   
บทคัดย่อ

การแก้ปัญหาการจราจรในเมืองใหญ่ประการหนึ่ง คือการติดตั้งระบบควบคุมสัญญาณไฟจราจรที่ทันสมัย ที่สามารถต่อเชื่อมเป็นโครงข่ายและขยายรูปแบบการควบคุมได้หลายขั้น บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอหลักการควบคุมสัญญาณไฟจราจรระบบ RONDO (ROlling-horizoN Dynamic Optimazation of Signal Control) ซึ่งเป็นระบบที่พัฒนาและใช้งานในประเทศญี่ปุ่น โดยอธิบายในแง่การตรวจวัด และการเก็บข้อมูลการจราจรด้วยเครื่องตรวจนับแบบกล้องอิมเมจโพรเซสซิ่ง (Image Processing) และอัลตราโซนิก (Ultrasonic) แนวคิดในการควบคุมสัญญาณไฟจราจร (Traffic Control) การแบบปรับตัวของรอบสัญญาณไฟตามปริมาณจราจร บทความยังแสดงถึงการแก้ปัญหาการจราจร ณ บริเวณทางแยกในโครงการนำร่องในจังหวัดภูเก็ต โดยอาศัยการปรับเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพของถนน และการจัดจังหวะสัญญาณไฟให้สอดคล้องกับปริมาณจราจร รวมถึงการติดตั้งสัญญาณไฟระบบ RONDO นอกจากนั้น ยังเสนอผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบก่อนและหลังการติดตั้ง โดยนำเสนอผลการเปรียบเทียบทัศนคติของประชาชน และการศึกษาการปรับตัวของรอบสัญญาณไฟที่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณจราจรก่อนและหลังติดตั้งระบบ

คำสำคัญ:RONDO, Adaptive Traffic Control, Image Processing Camera, Ultrasonic

กลับสู่หน้ารวมบทความ

   
   

ABSTRACT

Traffic congestion has been recognized as a national problem by government officials and as one of the top social problems by the public. Many big cities increasingly face constant traffic congestion and accidents. One promising method to solve traffic congestion is to utilize an area-wide advanced traffic control system with options to add more functional features in the future. The objective of this paper is to introduce the RONDO (ROlling-horizoN Dynamic Optimazation of Signal Control) system, a Japanese advanced traffic control system, in terms of data detection and collection by deploying image processing cameras and ultrasonic detectors. The algorithm of the RONDO system is also discussed. An application of the system was demonstrated through a pilot case study in Phuket town, Thailand. Changes in roadway geometry and varying phase patterns are considered the key component of the RONDO system. This paper also reports the public attitude and the before-and-after study of the pilot project.

KEYWORDS:RONDO, Adaptive Traffic Control, Image Processing Camera, Ultrasonic

Back to List of Papers

   
  © Copyright 2008, K. Choocharukul, Last Updated: June 26, 2004 .