โดย
บุญฤทธิ์ อินทิยศ
เกริ่นนำ
TBA
สำหรับ Windows เท่านั้น
การติดตั้ง XeTeX
ใช้ Portable MikTeX
ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้จาก http://miktex.org/portable/about
วิธีติดตั้ง Portable MikTeX
TBA
แค่นี้ก็ใช้งาน MikTeX ได้แล้ว มันมี text editor ในตัวคือ TeXWorks
ซึ่งจริงๆแล้วใช้งานได้เลย แต่ของผมต้องการปรับแต่งอะไรเพิ่มนิดหน่อย
อ่านได้ในหัวข้อถัดไป
การติดตั้ง TeX Editor
MikTeX Portable ที่ติดตั้งไปแล้วมี TeX editor ในตัวคือ
TeXWorks ไม่จำเป็นต้องทำอะไรเพิ่ม แต่มันก็ค่อนข้างจะธรรมดา
มีลูกเล่นน้อย สำหรับคนที่ชอบ text editor ตัวอื่นก็มีหลายรสชาติให้เลือก
ผมนำมาเสนอไว้บ้างบางส่วนตรงนี้ (ผมเสนอเฉพาะ editor ที่สนับสนุน
unicode ได้นะครับ)
TBA
ติดตั้ง
สร้างปุ่ม xetex
save file เป็น unicode
หมายเหตุ อีกสองตัวที่น่าใช้คือ WinEDT และ LEd (LaTeX
Editor) แต่น่าเสียดายที่มันไม่สนับสนุน unicode
การสร้างไฟล์ TeX เป็นภาษาไทย
สิ่งที่จำเป็นต้องใส่ใน preamble ของ tex file
TBA
การแปลงไฟล์ภาษาไทยเดิมจาก ANSI ให้เป็น Unicode
- เปิดไฟล์ใน editor ที่อ่านออกเป็นภาษาไทย
- Select All (Ctrl + A)
- Copy (Ctrl + c)
- เปิด editor ที่สนับสนุน unicode
- สร้างไฟล์ใหม่(Menu -> New )ที่เป็นหน้าว่าง
- Paste (Ctrl + v) ข้อมูลที่ก็อปปี้เอาไว้
- save file ให้เป็น unicode
การคอมไพล์
> xelatex document.tex
ไฟล์ตัวอย่าง
TBA
ข้อดีข้อเสียของ XeTeX
- ข้อดี
- typeset ภาษาไทย จาก original MikTeX distribution ได้เลย
ไม่ต้อง install อะไรเพิ่ม แต่ .tex ไฟล์ต้อง save เป็น unicode
- ตัดคำภาษาไทยอัตโนมัติ ไม่ต้องใช้โปรแกรมตัดคำ
- ใช้ฟอนท์ภาษาไทยที่อยู่ใน directory C:\WINDOWS\Fonts
ได้เลย (แต่ก็ใช่ว่าจะใช้ได้ทุกตัว ส่วนใหญ่จะใช้ได้)
- typeset ออกมาเป็น PDF เลย
- ไฟล์ PDF ที่ได้ จะมี bookmarks ใน Adobe Reader
แสดงเป็นภาษาไทย (ดังรูป)
- ข้อเสีย
- เพื่อให้ใช้ภาษาไทยได้ .tex ไฟล์ต้อง save เป็น unicode และ
TeX editor บางตัวก็ไม่สนับสนุน unicode
- XeTeX ไม่สร้างไฟล์ dvi ระหว่างคอมไพล์ ดังนั้นผู้ที่ชอบใช้
Yap ในการ "debug" จะไม่สามารถทำได้
ลิงค์ที่น่าสนใจ
- 13
ฟอนท์ไทยสวยๆ จาก SIPA (ฟรี)
- เอกสารการใช้งาน XeTeX จาก ผ.ศ. ดร.
- MikTeX
- คู่มือ Fontspec pacakge (pdf) Fontspec
มีลูกเล่นน่าสนใจมากมายที่ใช้กับฟอนท์
- การใช้ Tiks วาดภาพ vector graphic ใน LaTeX