Course Syllabus
  
2313201 Fund Photo Sci

1. รหัสวิชา 2313201

2. จำนวนหน่วยกิต (Course Credit) บรรยาย 2 หน่วย

3. ชื่อวิชา (Course Title) วิทยาศาสตร์ภาพถ่ายพื้นฐาน

4. คณะ/ภาควิชา วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

5. ภาคการศึกษา (ต้น/ปลาย/ฤดูร้อน) ต้น

6. ปีการศึกษา 2541

7. ชื่อผู้สอน (รายวิชาที่มีผู้สอนหลายคน ระบุชื่ออาจารย์ผู้ร่วมสอนทุกคน)

ศ. ศักดา ศิริพันธุ์

อ. รัชนี นภามรกต

อาจารย์พิเศษ

8. เงื่อนไขรายวิชา

8.1 วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน -

8.2 วิชาบังคับร่วม -

8.3 วิชาควบ -

9. สถานภาพของวิชา (วิชาบังคับ/วิชาเลือก) วิชาบังคับ

10. ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตร์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

11. วิชาระดับ (ปริญญาตรี/ปริญญาโท/ปริญญาเอก) ปริญญาตรี

12. จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์ บรรยาย 2 ชม.

13. เนื้อหารายวิชา (Course Description) ตามที่ปรากฎในหลักสูตร

บทนำเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ภาพถ่ายกำเนิดแสงที่ใช้ในการถ่ายภาพ คุณลักษณะของแสงที่ใช้ถ่ายภาพ การ วัดแสง เครื่องวัดแสง กล้องถ่ายภาพ และส่วนประกอบที่สำคัญกล้องถ่ายภาพแบบต่าง ๆ วิธีการถ่ายภาพ โดยใช้กล้องชนิดต่าง ๆ โครงสร้างของวัสดุไวแสงหรือฟิล์ม การผลิตวัสดุไวแสง ศิลปการถ่ายภาพ การจัด แสงเพื่อการถ่ายภาพ แว่นกรองแสงหรือฟิลเตอร์ แฟลชและเทคนิคการถ่ายภาพโดยใช้แสงแฟลช เทคนิค การถ่ายภาพบุคคล ภาพทิวทัศน์ ภาพดอกไม้และอื่น ๆ ทฤษฎีการเกิดภาพแฝง ผลที่เกิดจากการฉายแสง บนวัสดุไวแสง กระบวนการที่ล้างฟิล์ม การอัดและขยายภาพ การเปลี่ยนโทน โครงสร้างที่ใช้สำหรับกำหนด คุณสมบัติของภาพถ่าย การวัดความไวของวัสดุไวแสง การผลิตโทนของภาพกระบวนการเกิดภาพในเครื่อง อัดสำเนา เช่น ซีรอกซ์ กระบวนการเกิดภาพโพลารอยด์ขาว-ดำ และการอนุรักษ์ภาพถ่าย

14. ประมวลการเรียนรายวิชา (Course Outline) ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ

14.1 วัตถุประสงค์ทั่วไปและหรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. อธิบายส่วนประกอบที่สำคัญของกล้องถ่ายภาพประเภทต่าง ๆ ได้

2. ทราบโครงสร้างของวัสดุไวแสงหรือฟิล์ม การผลิตวัสดุไวแสง คุณลักษณะเฉพาะของวัสดุไว แสง การวัดความไวของวัสดุไวแสง

3. ทราบคุณลักษณะของแสงที่ใช้ในการถ่ายภาพ การวัดแสง เครื่องวัดแสงแบบต่าง ๆ

4. ทราบศิลปการถ่ายภาพ การจัดแสงเพื่อการถ่ายภาพ องค์ประกอบของภาพถ่าย

5. แว่นกรองแสง แฟลช เทคนิคการถ่ายภาพโดยใช้แฟลช

6. เทคนิคการถ่ายภาพบุคคล ภาพทิวทัศน์ ภาพดอกไม้ ภาพพลุไฟ และอื่น ๆ

7. ทฤษฎีการเกิดภาพแฝง ผลที่เกิดจากการฉายแสงบนวัสดุไวแสง กระบวนการล้างฟิล์ม การอัด ขยายภาพ กล้องขยายภาพ

14.2 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์

14.2.1 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์ (บรรยาย)

สัปดาห์ที่
หัวข้อ
1
- คุณลักษณะของแสงที่ใช้ถ่ายภาพ การจัดแสงเพื่อการถ่ายภาพ
2 - 4
- ส่วนประกอบที่สำคัญของกล้องถ่ายภาพประเภทต่าง ๆ 

- ประเภทของกล้องถ่ายภาพ 

- ประเภทของเลนส์ถ่ายภาพ

   
5 - 6
- ศิลปะการถ่ายภาพ องค์ประกอบของภาพถ่าย การถ่ายภาพโดย 

ใช้เลนส์ความยาวโฟกัสต่าง ๆ 

- เทคนิคการถ่ายประเภทต่าง ๆ เช่น การถ่ายภาพบุคคล ภาพทิวทัศน์ 

ภาพดอกไม้ ภาพวิว กล่างคืน ภาพพลุไฟ และอื่น ๆ

7
- ประวัติการถ่ายภาพ
8
- สอบกลางภาค
9 - 16
- ฟิล์ม โครงสร้างของฟิล์ม การผลิตวัสดุไวแสง 

- คุณลักษณะเฉพาะของวัสดุไวแสง การวัดความไวของวัสดุไวแสง 

- ทฤษฎีการเกิดภาพแฝง ผลที่เกิดจากการฉายแสงบนวัสดุไวแสง 

- กระบวนล้างฟิล์ม การอัดและขยายภาพ กล้องขยายภาพ 

- วิธีการเก็บรักษาและอนุรักษ์ภาพถ่ายให้คงอยู่นานที่สุด 

- อุปกรณ์ที่ช่วยในการถ่ายภาพ เช่น แฟลช แว่นกรองแสง 

สายลั่นไกชัตเตอร์ ขาตั้งกล้อง และอื่น ๆ 

                                                                                                                                                                                        14.3 วิธีจัดการเรียนการสอน

- บรรยาย อภิปราย

14.4 สื่อการเรียนการสอน

- แผ่นโปร่งใส

- สไลด์

- อุปกรณ์การถ่ายภาพ

- วิดีโอเทป

14.5 การวัดผลการเรียน

- สอบกลางภาค ข้อเขียน 50%

- สอบปลายภาค ข้อเขียน 50%

15. รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ

15.1 หนังสือบังคับ

- เทคนิคการถ่ายภาพ ศ. ศักดา ศิริพันธุ์

15.2 หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- หนังสือทั่วไปเกี่ยวกับการถ่ายภาพ.

return

 


2313203 Color Photo Sci

1. รหัสวิชา 2313203

2. จำนวนหน่วยกิต (Course Credit) 2 หน่วย

3. ชื่อวิชา (Course Title) การถ่ายภาพสี

4. คณะ/ภาควิชา วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

5. ภาคการศึกษา (ต้น/ปลาย/ฤดูร้อน) ปลาย

6. ปีการศึกษา 2540

7. ชื่อผู้สอน (รายวิชาที่มีผู้สอนหลายคน ระบุชื่ออาจารย์ผู้ร่วมสอนทุกคน)

ศ. ศักดา ศิริพันธุ์

อ. รัชนี นภามรกต

อาจารย์พิเศษ

8. เงื่อนไขรายวิชา

8.1 วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน 2313201 วิทยาศาสตร์ภาพถ่ายพื้นฐาน

8.2 วิชาบังคับร่วม -

8.3 วิชาควบ -

9. สถานภาพของวิชา (วิชาบังคับ/วิชาเลือก) วิชาบังคับ

10. ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตร์สาขาวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

11. วิชาระดับ (ปริญญาตรี/ปริญญาโท/ปริญญาเอก) ปริญญาตรี

12. จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์

บรรยาย 2 ชั่วโมง

13. เนื้อหารายวิชา (Course Description) ตามที่ปรากฎในหลักสูตร

สีของแสง ตากับการมองเห็น จิตวิทยาของสี การสังเคราะห์สีโดยการผสมแสงสีแบบบวก และกระบวนการ ดูดกลืนสี การผลิตภาพสีโดยกระบวนการแอดดิทิฟ ซับแทรกทิฟ ไดย์ทรานสเฟอร์ ไดย์เดสตรักชั่น ซีบา โครม ฟิลเตอร์ที่ใช้ในการอัดและขยายภาพสี กลไกการทำให้เกิดภาพเนกาทีฟสี สไลด์สี เทคนิคการถ่าย ภาพสี การถ่ายภาพโดยใช้ฟิลเตอร์แบบต่าง ๆ กระดาษอัดรูปสีโพลารอยด์ การผลิตภาพสีโดยคำนวณจาก กราฟทั้งแอดดิทิฟ และซับแทรคทิฟ

14. ประมวลการเรียนรายวิชา (Course Outline) ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ

14.1 วัตถุประสงค์ทั่วไปและหรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. สามารถอธิบาย สีของแสง การมองเห็นสี ลักษณะของสี

2. ทราบกระบวนการเกิดภาพสีทั้งแบบพอสิทิฟและเนกาทิฟ

3. ทราบเทคนิคการอัดขยายภาพสีให้ได้สีสมดุลโดยการคำนวณจากกราฟ

4. ทราบเทคนิคการทำสำเนาภาพสี การทำผลพิเศษทางภาพสี

5. ทราบวิธีการบูรณะภาพถ่ายและสไลด์สีให้คงทน การเก็บรักษาและการจัดแสดงภาพถ่ายสี

14.2 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์ 2 ชม.

สัปดาห์ที่
หัวข้อ
1
ข้อคำนึงเกี่ยวกับแสงและแสงสีในการถ่ายภาพสี
2
การมองเห็นสี
3
สีของแสง การบรรยายลักษณะสี
4
เทคนิคการถ่ายภาพสีกับจิตวิทยาสี
5-6
ฟิล์มสีและคุณลักษณะเฉพาะของฟิล์มสี
7
เทคนิคการถ่ายภาพใกล้
8
สอบกลางภาค
9
กล้องขยายภาพสีและฟิลเตอร์
10
กระดาษสีและกระบวนการสร้างภาพสี
11
การอัดขยายภาพสีระบบแม่สีบวก
12
การอัดขยายภาพสีระบบแม่สีลบ
13
สไลด์สีและกระบวนการสร้างภาพ
14
เครื่องล้างภาพสีอัตโนมัติ
15
การบูรณะภาพถ่ายและสไลด์สีให้คงทน
14.3 วิธีจัดการเรียนการสอน

บรรยาย อภิปราย

14.4 สื่อการเรียนการสอน

- แผ่นโปร่งใส

- สไลด์

- อุปกรณ์การถ่ายภาพ

14.5 การวัดผลการเรียน

- สอบข้อเขียน กลางภาค 50%

- สอบข้อเขียนปลายภาค 50%

15. รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ

15.1 หนังสือบังคับ

- เทคนิคการถ่ายภาพ (ศ. ศักดา ศิริพันธุ์)

- การถ่ายภาพสี (ศ.ศักดา ศิริพันธุ์)

return

 


 2313408 Applied Photo Sci

1. รหัสวิชา 2313408

2. จำนวนหน่วยกิต (Course Credit) 2 หน่วย

3. ชื่อวิชา (Course Title) วิทยาศาสตร์ถ่ายภาพประยุกต์

APPLIED PHOTO SCI

4. คณะ/ภาควิชา วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

5. ภาคการศึกษา (ต้น/ปลาย/ฤดูร้อน) ปลาย

6. ปีการศึกษา 2540

7. ชื่อผู้สอน (รายวิชาที่มีผู้สอนหลายคน ระบุชื่ออาจารย์ผู้ร่วมสอนทุกคน)

อ. รัชนี นภามรกต

อาจารย์พิเศษ

8. เงื่อนไขรายวิชา นิสิตชั้นปีที่ 4

8.1 วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน -

8.2 วิชาบังคับร่วม -

8.3 วิชาควบ -

9. สถานภาพของวิชา (วิชาบังคับ/วิชาเลือก) วิชาบังคับ

10. ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตร์สาขาวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

11. วิชาระดับ (ปริญญาตรี/ปริญญาโท/ปริญญาเอก) ปริญญาตรี

12. จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์

บรรยาย 2 ชั่วโมง

13. เนื้อหารายวิชา (Course Description) ตามที่ปรากฎในหลักสูตร

ศึกษาภาพชีวภาพโดยใช้รังสีอินฟราเรด การทำแผนที่ การตีความภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายโดยใช้รังสี เหนือม่วง การถ่ายรังสีเอกซ์ และการถ่ายภาพระบบ Digital

14. ประมวลการเรียนรายวิชา (Course Outline) ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ

14.1 วัตถุประสงค์ทั่วไปและหรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. สามารถอธิบายกระบวนการถ่ายภาพระบบดิจิทอล

อุปกรณ์และวัสดุในการถ่ายภาพระบบดิจิทอล

      1. สามารถอธิบายกระบวนการถ่ายภาพดาวเทียม การผลิตภาพถ่ายจากดาวเทียม การวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียม และประโยชน์จากภาพถ่ายดาวเทียม
      2. สามารถอธิบายกระบวนการบันทึกภาพทางการแพทย์โดยใช้
รังสีเอกซ์ รังสี UV 14.2 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์
วัน/เดือน/ปี
เนื้อหา
3,10,17 พ. ย. 2540
การถ่ายภาพจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ
24 พ. ย. 2540
Hologram picture
1 ธ. ค. 2540
Multimedia
2 ธ. ค. 2540
Intranet
15 ธ. ค. 2540
การถ่ายภาพ x-ray 
29 ธ. ค. 2540
การบันทึกภาพทางการแพทย์ MRI 
5 ม. ค. 2541
PDF
19 ม. ค. 2541
Network System
26 ม. ค. 2541
การถ่ายภาพแฟชั่น
2 ก. พ. 2541
การถ่ายภาพแฟชั่น
9 ก. พ. 2541
Color Management System
16 ก. พ. 2541
การออกแบบตัวอักษรไทยด้วยคอมพิวเตอร์
14.3 วิธีจัดการเรียนการสอน

- ทัศนศึกษา, ดูงานนอกสถานที่

- บรรยาย และอภิปราย

14.4 สื่อการเรียนการสอน

- แผ่นโปร่งใส

- สไลด์

- วีดิโอ

14.5 การวัดผลการเรียน

- คะแนนเข้าเรียน ร้อยละ 10

- คะแนนสมุดรายงาน ร้อยละ 10

- คะแนนสอบกลางภาค ร้อยละ 40

- คะแนนสอบปลายภาค ร้อยละ 40

15. รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ

15.1 หนังสือบังคับ

-

15.2 หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- หนังสือวารสารการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

- หนังสือวารสารที่เกี่ยวกับการถ่ายภาพและการพิมพ์

return

 


 2313455 Photo Print QC

1. รหัสวิชา 2313455

2. จำนวนหน่วยกิต (Course Credit) 2(2-0-4)

3. ชื่อวิชา (Course Title) การควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิตภาพถ่ายและการพิมพ์

PHOTO/PRINT QC

4. คณะ/ภาควิชา วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

5. ภาคการศึกษา (ต้น/ปลาย/ฤดูร้อน) ต้น

6. ปีการศึกษา 2541

7. ชื่อผู้สอน (รายวิชาที่มีผู้สอนหลายคน ระบุชื่ออาจารย์ผู้ร่วมสอนทุกคน)

รศ. พรทวี พึ่งรัศมี

อ. รัชนี นภามรกต

8. เงื่อนไขรายวิชา นิสิตชั้นปีที่ 4

8.1 วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน -

8.2 วิชาบังคับร่วม -

8.3 วิชาควบ -

9. สถานภาพของวิชา (วิชาบังคับ/วิชาเลือก) วิชาเลือก

10. ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตร์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

11. วิชาระดับ (ปริญญาตรี/ปริญญาโท/ปริญญาเอก) ปริญญาตรี

12. จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

13. เนื้อหารายวิชา (Course Description) ตามที่ปรากฎในหลักสูตร

ประยุกต์วิธีการทางสถิติเพื่อใช้ในการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิตภาพถ่าย และกระบวนการพิมพ์

14. ประมวลการเรียนรายวิชา (Course Outline) ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ

14.1 วัตถุประสงค์ทั่วไปและหรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. สามารถอธิบายและเข้าใจการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (TQC)

2. สามารถปรับปรุงคุณภาพโดยใช้ QCDSMEE และ 5ส.

3. สามารถอธิบายอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 และ ISO 14000

4. สามารถอธิบายการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิตทางด้านการพิมพ์ทุกขั้นตอน

5. สามารถแก้ปัญหาทางการพิมพ์โดยใช้กิจกรรมควบคุมคุณภาพ QCC

6. สามารถเสนอผลงานการทำกิจกรรมควบคุมคุณภาพ (QCC)

14.2 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์
 
สัปดาห์ที่
หัวข้อ
1
การบริหารคุณภาพ (TQC)
2
QCDSMEE ในการปรับปรุงคุณภาพ
3
กิจกรรมควบคุมคุณภาพ (QCC)
4
เครื่องมือกิจกรรมควบคุมคุณภาพ
5
5ส. ในการปรับปรุงคุณภาพและลดต้นทุนการผลิต
6-7
อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000
8
สอบกลางภาค
9
การควบคุมคุณภาพวัสดุทางการพิมพ์
10
การควบคุมคุณภาพการถ่ายภาพงานพิมพ์
11
การควบคุมคุณภาพการทำแม่พิมพ์และทำปรู๊ฟ
12
การควบคุมคุณภาพงานพิมพ์
13-14
เสนอกิจกรรมควบคุมคุณภาพทางด้านการพิมพ์
15
อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000
16
สอบปลายภาค
14.3 วิธีจัดการเรียนการสอน

- บรรยาย อภิปราย

- ปฏิบัติการกลุ่มย่อย โดยการระดมสมอง แก้ปัญหา กลุ่มคุณภาพ

- เสนอผลงานกิจกรรมควบคุมคุณภาพ

- ดูงานนอกสถานที่เกี่ยวกับการเสนอผลงานกิจกรรมควบคุมคุณภาพและ5ส. ของบริษัทที่ ประสบความสำเร็จ

14.4 สื่อการเรียนการสอน

- แผ่นโปร่งใส

- สไลด์

- วิดีโอเทป

14.5 การวัดผลการเรียน

1. ทำกิจกรรมควบคุมคุณภาพ (QC Circle) ด้านการพิมพ์หรือภาพถ่าย 20%

2. รายงานการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ 20%

3. สอบกลางภาค 30%

สอบปลายภาค 30%

15. รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ

1. Quality and Productivity in the Graphic Art (Miles Southworth, Donna Southworth)

2. คู่มือ QC (ศาสตราจารย์ สุรศักดิ์ นานานุกุลและคณะ)

3. ร่วมใจกันบริหารงานด้วยคิวซี (จตุรงค์ เกียรติกำจาย)

4. คู่มือทำกิจกรรมกลุ่มสร้างคุณภาพ (ดร. ประวิทย์ จงวิศาล, ดร. วิจิตรา จงวิศาล)

5. การพัฒนาทีมงาน (ดร. สิทธิโชค วรานุสันติกูล)

6. จิตวิทยาสำหรับนักบริหาร (รศ. ดร. สิทธิโชค วรานุสันติกุล)

7. ศิลปะการเสริมสร้างพลังความคิดสร้างสรรค์ (ดร. โรเบิร์ต ดับบลิว ออลสัน เขียน,

มนูญ ตนะวัฒนา แปลและเรียบเรียง

8. การจัดการทางการผลิตและควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

return

 


2313450 Production Management

1. รหัสวิชา 2313450

2. จำนวนหน่วยกิต (Course Credit) บรรยาย 2 หน่วย

3. ชื่อวิชา (Course Title) การบริหารการผลิต

4. คณะ/ภาควิชา วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

5. ภาคการศึกษา (ต้น/ปลาย/ฤดูร้อน) ต้น

6. ปีการศึกษา 2541

7. ชื่อผู้สอน (รายวิชาที่มีผู้สอนหลายคน ระบุชื่ออาจารย์ผู้ร่วมสอนทุกคน)

อ. รัชนี นภามรกต

อ. พิเศษ

8. เงื่อนไขรายวิชา นิสิตชั้นปีที่ 4

8.1 วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน -

8.2 วิชาบังคับร่วม -

8.3 วิชาควบ -

9. สถานภาพของวิชา (วิชาบังคับ/วิชาเลือก) วิชาเลือก

10. ชื่อหลักสูตร วิทยาศาสตร์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์

11. วิชาระดับ (ปริญญาตรี/ปริญญาโท/ปริญญาเอก) ปริญญาตรี

12. จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (ศุกร์ 13.00-15.00น.)

13. เนื้อหารายวิชา (Course Description) ตามที่ปรากฎในหลักสูตร

ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์การผลิตทั้งในส่วนราชการ และเอกชน การวางแผนควบคุมการผลิต การวัดผล และการประเมินค่าของงาน การศึกษารวมไปถึงการวิเคราะห์ระบบงาน เพื่อที่จะสามารถดำเนินการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงการตลาด วิศวเศรษฐศาสตร์ทางภาพถ่าย และการอุตสาหกรรมการพิมพ์ กฎหมาย และพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับการพิมพ์

14. ประมวลการเรียนรายวิชา (Course Outline) ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ

14.1 วัตถุประสงค์ทั่วไปและหรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

นิสิตสามารถ

1. สามารถอธิบายกระบวนการผลิต การจัดการและการบริหารงานในอุตสาหกรรมการพิมพ์

2. สามารถอธิบายการพยากรณ์การผลิต, การจัดเก็บวัสดุ, และการวางแผนการผลิต

3. สามารถอธิบายการบริหารการเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรม

4. สามารถอธิบายการวัดวิเคราะห์การเพิ่มผลผลิต

14.2 เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์
สัปดาห์ที่
หัวข้อ
 
1 - 3
การจัดการอุตสาหกรรมและบริหารงานผลิต  
4
การเลือกทำเลที่ตั้งและการวางแผนผังการผลิต  
5 - 6
การพยากรณ์เพื่อการผลิต  
7
สอบกลางภาค  
8-10
การวางแผนและควบคุมการผลิต  
11-12
การขนถ่ายและจัดเก็บวัสดุในโรงพิมพ์  
13
การบำรุงรักษาในโรงพิมพ์  
14
ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน  
15
การวัดวิเคราะห์การเพิ่มผลผลิต  
16
สอบปลายภาค  
 

 
14.3 วิธีจัดการเรียนการสอน

- บรรยาย

- จัดกลุ่มอภิปราย

14.4 สื่อการเรียนการสอน

- แผ่นโปร่งใส

- วิดีโอเทป

14.5 การวัดผลการเรียน

- สอบกลางภาค ข้อเขียน 40%

- สอบปลายภาค ข้อเขียน 40%

- รายงาน 20%

15. รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ

- วารสารเพื่อการเพิ่มผลผลิต Productivity World สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ - การจัดการทางการผลิตและการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

 return