ชื่อ นายสัตวแพทย์ ดร.ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ
SUPHACHAI NUANUALSUWAN
ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 7
ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข
คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ถนนอังรีดูนังต์ อำเภอปทุมวัน กรุงเทพฯมหานคร
โทรศัพท์ (02)218-9577-9 โทรสาร (02)218-9577
E-Mail suphachai.n@chula.ac.th

1. ปริญญาตรีสัตวแพทยศาสตร์บัณฑิต
(เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญรางวัล) (Doctor of Veterinary Medicine:DVM) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2536

2.ปริญญาโทอายุรศาสตร์ป้องกันทางสัตวแพทย์
Master of Preventive Veterinary Medicine : MPVM
๊University of California, Davis U.S.A. พ.ศ.2540

3.ปริญญาเอกสาขาวิทยาศาสตร์การอาหาร
(Doctor of Philosophy in Food Science:PhD)
University of California, Davis U.S.A. พ.ศ.2545

1.บรรจุตั้งแต่ ธันวาคม พ.ศ.2536 ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข
คณะสัตยแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนอังรีดุนังต์
อำเภอปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ (0)218-9577-9
โทรสาร (02)218-9577

2. อาจารย์พิเศษ
>> คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
>> คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
>> คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
>> บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

3.วิทยากรอบรมด้านการประเมินความเสี่ยงจุลชีววิทยา
(microbial risk assessment)
>> สถาบันสุขภาพสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
>>สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ศูนย์พันธุวิศกรรมและ เทคโนโลยีแห่งชาติ (BIOTEC)
>> บริษัท อินเทลโนเวชั่น จำกัด
 
1. การประเมินความเสี่ยงจุลชีววิทยา (Microbial Risk Assessment)
>> ความปลอดภัยของอาหาร
(Quantitative risk assessment by Codex guideline)
>> โรคติดต่อระหว่างสัตว์และหรือคน
(Import Risk Analysis by OIE code)


2. ความปลอดภัยทางอาหารด้านจุลชีววิทยา
(Microbial Food Safety)

3. ไวรัสวิทยาทางอาหาร (Food Viroloy e.g.Foodborne and waterborne disease, FMD, AI)
1. การประเมินความเสี่ยงเชิงจุลชีววิทยาของซัลโมเนลลาในเนื้อไก่กระทง : ผู้วิจัยหลัก
(Microbiological Risk Assessments (MRA) of Salmonelia in Broiler Chickens)
แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

2. การศึกษาอัตราการทำลายไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อย ด้วยความร้อน : ผู้วิจัยหลัก
(Thermal Inactivation of Foot andmouth Disease Virus)
แหล่งทุน : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

3.ผลของยาต้านจุลชีพ Flavomycin, Avilamycin และ Erythromycin
ที่ใช้เร่งการเจริญเติบโต ต่อเชื้อเอ็นเทอโรคอคคัยที่ดื้อยาแวนโคมัยซินในไก่เนื้อ : ผู้วิจัยหลัก

(Effect of antimicrobial growth promoter, Flavomycin, Avilamycin
และ Erythromycin, on the vancomycinresistant Enterococci (VRE) on broiler)
แหล่งทุน : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1.การประเมินความเสี่ยงของลิสทีเรีย โมโนโซโดจีเนสในเนื้อไก่ : ผู้วิจัยหลัก
(Risk assessment of Listeria Monocytogenes in broiler chicken)
แหล่งทุน : สำนักงานมาตรฐานสินค้าการเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)

2. การร่างมาตรฐานและแนวปฏิบัติเพื่อการวิเคราะห์ความเสี่ยงนำเข้า
ของไวรสไข้หวัดใหญ่สัตว์ปีกในไก่เนื้อ : ผู้วิจัยหลัก
(Drafting the Standard and Guidelines for Import Risk Analysis
of Notifiable Avian Influenza (NAI) Virus in Broiler Chicken)

แหล่งทุน : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

3. การใช้ความดันสูงในการทำลายไวรัสไข้หวัดนก ไวรัสนิวคาสเซิล ซัลโมเนลลา ลิสทีเรีย
และแคมไพโลแบคเตอร์ในเนื้อไก่ : ผู้วิจัยหลัก
(High pressure inactivation of Avian influenza(AI) virus, Newcastle disease (ND)
virus, Salmonelia, Listeria monocytogenes, Campylobacter in broiler chicken)
แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

4. การประเิมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของเชื้อก่อโรค Staphylococcus aureus
และสารประกอบไนโตรซามีนในแหนมหมู : ผู้วิจัยร่วม

(Quantitative microbial risk assessment of Staphylococcus aureus
and quantitative chemical risk assessment
of volatie Nnitrosamine in thai fermenled pork sausage(naem)
แหล่งทุน : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ (BIOTEC)

 


กลับไปหน้าหนังสือความปลอดภัยของอาหาร