ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเล

สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ถนนพญาไท  เขตปทุมวัน 

กรุงเทพมหานคร 10130

โทรศัพท์ 02-2188139 ถึง 022188140

โทรสาร  02-2544259

e-mail:         rsompop@chula.ac.th

                   srungsupa@hotmail.com

                   srungsupa@yahoo.com

                   srungsupa@gmail.com

 

ผู้รับผิดชอบ    นาย    สมภพ รุ่งสุภา

                   Mr. Sompop Rungsupa

 

วัตถุประสงค์   1.       เพื่อวิเคราะห์ทางเคมี กายภาพและชีวภาพในห้องปฏิบัติการ ของ คุณภาพน้ำ ตะกอนดิน ทรัพยากรนิเวศวิทยา 

2.            เพื่อดำเนินการศึกษาในภาคสนาม การเก็บตัวอย่าง การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเล  ชายหาด ป่าชายเลน

3.            เพื่อดำเนินการจัดทำและรวบรวมข้อมูลคุณภาพน้ำ ตะกอนดิน ทรัพยากรนิเวศ ในรูปแบบระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ และ work sheet

 

ประวัติ

 

เครื่องมือและอุปกรณ์วิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ

 

เครื่องมือและอุปกรณ์เก็บตัวอย่าง และ ศึกษาภาคสนาม

 

พารามิเตอร์ที่ทำการวิเคราะห์

 

ข้อมูลคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเล

 

บทความ/รายงานวิชาการคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเล

 

ผลงานวิชาการ

-ครุวิจัย50

 

โครงการวิจัย

 

ทดสอบแผนที่ google map แสดงท่าเรือไทย


http://maps.google.co.th/maps/ms?hl=th&ie=UTF8&oe=UTF8&msa=0&msid=108434339844672465706.00047abcfff45666eff9b&z=6

 

ประวัติ

 

เครื่องมือและอุปกรณ์วิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ

 

เครื่องมือและอุปกรณ์เก็บตัวอย่าง และ ศึกษาภาคสนาม

 

พารามิเตอร์ที่ทำการวิเคราะห์

1. วิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี ได้แ่ก่

1.1         คุณภาพน้ำทั่วไป ได้แก่ อุณหภูมิ ความเค็ม  ค่าความนำไฟฟ้า  pH ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ ความโปร่งใส

1.2         ปริมาณธาตุอาหาร ได้แก่  แอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนเตรท ไนโตรเจนรวม;  ฟอสเฟต และ ฟอสฟอรัสรวม; ซิลิเกต

1.3         ปริมาณซัลไฟด์ (Sulphide)

1.4         ค่าอัลคาลินิตี้ (Alkalinity)

1.5         ปริมาณคลอโรฟิลล์ (Chlorophyll Content)

1.6         บีโอดี และ ซีโอดี (BOD, COD)

1.7         ปริมาณปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนรวม (Total Petroleum Hydrocarbon)

 

2. วิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ ได้แก่

2.1     ปริมาณตะกอนแขวนลอย (Suspension Solid) และ ความขุ่น (Turbidity)

2.2     อัตราการตกตะกอน (Sedimentation Rate)

 

3. วิเคราะห์ปัจจัยทางนิเวศ ได้แก่ 

                             2.1     ชนิด และ ความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton: Group and density)

                             2.2     ชนิด และ ความหนาแน่นของแพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton: Group and density)

                             2.3     ชนิด ความหนาแน่น และ มวลชีวภาพของสัตว์หน้าดิน (Benthos: Group, density and biomass)

 

4. วิเคราะห์คุณภาพตะกอนดินทางเคมี ได้แก่

                             3.1     ขนาดตะกอนเฉลี่ย (Mean Grain Size)

                             3.2     ปริมาณอินทรีย์สาร (Oxidisable Organic Matter)

                             3.3     ปริมาณซัลไฟด์ (Total Sulphide Content)

                             3.4     อัตราการหายใจของตะกอนดิน (Oxygen Consumptions Rate)

                             3.4     ปริมาณปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอนรวมในตะกอนดิน (Total Petroleum Hydrocarbon in Sediment)

 

ข้อมูลคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเล

บทความ/รายงานวิชาการคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเล

ผลงานวิชาการ

โครงการวิจัย

จุฬาวิชาการ51