ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรรจน์ เศรษฐบุตร
(Assistant
Prof. Atch SRESHTHAPUTRA, Ph.D.)
ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร. 02-218-4391 แฟกซ์ 02-218-4372
http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~satch
Email: Atch.S@Chula.ac.th,
Atch111@yahoo.com
ประวัติการศึกษา
Doctor of Philosophy (Ph.D.)
Certificate in Facility Management (Cert. FM.)
Master of Science (M.S.) Georgia
Tech,
สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(2536)
ประวัติการทำงาน
q
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2548 - ปัจจุบัน)
q
อุปนายก
(วิชาการ) สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (2549 - ปัจจุบัน)
q
อาจารย์ประจำ
ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2546 - 2548)
q
อาจารย์พิเศษ
และผู้ทรงคุณวุฒิ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2546-ปัจจุบัน)
q
อาจารย์พิเศษ
และผู้ทรงคุณวุฒิ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2547– ปัจจุบัน)
q
คณะกรรมาธิการฝ่ายวิชาการ
สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (2547-ปัจจุบัน)
q
คณะทำงานร่างข้อกำหนดสถาปนิกฝึกหัด
สภาสถาปนิก (ปัจจุบัน)
q
คณะที่ปรึกษาคณะกรรมการคัดเลือกผลงานสถาปัตยกรรมดีเด่น
ประจำปี 2549 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
q
ที่ปรึกษาโครงการวิจัยวัสดุผนังเพื่อการประหยัดพลังงาน
สำหรับใช้ในการก่อสร้างอาคารพักอาศัย กรณีศึกษา: โครงการบ้านเอื้ออาทร การเคหะแห่งชาติ (ปัจจุบัน)
q
ที่ปรึกษาโครงการวิจัยการออกแบบบ้านประหยัดพลังงาน
ประเภททาวน์เฮาส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ร่วมกับสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)กระทรวงพลังงาน (2547-ปัจจุบัน)
q
ผู้เชี่ยวชาญสาขาพลังงาน
โครงการศึกษาภาพรวมและจัดทำเส้นทางเทคโนโลยีของชาติ (Technology Road Mapping) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
q
คณะกรรมการตัดสินโครงการประกวดแนวความคิดการออกแบบอาคารที่พักอาศัยประหยัดพลังงานด้วยวิธีธรรมชาติ
(Passive Architecture) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
(2547)
q
คณะกรรมการพิจารณาบทความทางวิชาการ
(Peer Review)
วารสารวิชาการ “JARS” คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปัจจุบัน)
q
คณะกรรมการพิจารณาบทความทางวิชาการ
(Peer Review)
วารสารวิชาการ “ระแนง”
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ปัจจุบัน)
q
คณะกรรมการพิจารณาบทความทางวิชาการ
(Peer Review) วารสารวิชาการ “สาระศาสตร์ 47” คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2547)
q
คณะกรรมการวิจัยและออกแบบปรับปรุงผังแม่บทการใช้ที่ดิน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2547-2548)
q
คณะกรรมการจัดทำโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีอาคารสู่วงการสถาปัตยกรรมในประเทศไทยเพื่อการประหยัดพลังงาน
สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (2547)
q
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2546)
q
นักวิจัย
Energy Systems Laboratory, Texas A&M University, USA. (2540-2545)
q
รองประธานสมาคม
ASHRAE (American Society of Heating, Refrigerating, and
Air-Conditioning Engineers สาขามหาวิทยาลัย Texas A&M
(2543-2544)
q
อาจารย์ผู้ช่วยสอนภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัย Texas A&M University ประเทศสหรัฐอเมริกา (2541-2545) (Courses Taught: Environmental Control Systems; Application of
Solar Energy in Buildings; Energy Optimization in Building Design Using DOE-2
and EnerWIN)
q
อาจารย์พิเศษ ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2538, 2540)
ประวัติการปฏิบัติวิชาชีพ
q
ที่ปรึกษาการจัดการบริหารอาคาร
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย SME Development Bank of
Thailand (ปัจจุบัน)
q
ที่ปรึกษาการออกแบบประหยัดพลังงาน
อาคารศูนย์พลังงานแห่งชาติ (National Energy Complex) กระทรวงพลังงาน ร่วมกับบริษัท A49 จำกัด (2548)
q
ที่ปรึกษาการออกแบบประหยัดพลังงาน
อาคารสถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงปักกิ่ง ประเทศจีนร่วมกับบริษัทแปลนสตูดิโอ
จำกัด (2548)
q
ที่ปรึกษาการออกแบบประหยัดพลังงาน
อาคารสถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย
ร่วมกับบริษัทแปลนอาร์คิเทค จำกัด (2548)
q
ที่ปรึกษาการออกแบบประหยัดพลังงาน
อาคารสถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงอิสลามาบัด ประเทศปากีสถาน ร่วมกับบริษัทแปลนอาร์คิเทค
จำกัด (2548)
q
ที่ปรึกษาการออกแบบประหยัดพลังงาน
อาคารสถานกงสุลไทย ประจำกรุงเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีนร่วมกับบริษัทสเปซไทม์ อาร์คิเตค
จำกัด (2548)
q
ที่ปรึกษาการออกแบบประหยัดพลังงาน
อาคารโรงพิมพ์ Plan Printing จำกัด ร่วมกับบริษัทแปลนแอสโซสิเอทส์
จำกัด (2548)
q
ที่ปรึกษาการปรับปรุงอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน
อาคารตึกไทยคู่ฟ้า ทำเนียบรัฐบาล (2548)
q
ที่ปรึกษาการออกแบบประหยัดพลังงาน
อาคารสำนักงานและศูนย์ฝึกอบรม การไฟฟ้านครหลวง (2547)
q
ที่ปรึกษาการออกแบบประหยัดพลังงาน
อาคารศูนย์คอมพิวเตอร์ การไฟฟ้านครหลวง (2547)
q
ที่ปรึกษาการออกแบบระบบเปลือกอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน
อาคารศูนย์การแพทย์วิชัยยุทธ (2547)
q
ที่ปรึกษาการปรับปรุงสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม
กลุ่มอาคารศาลฎีกา (2546-2547)
q
สถาปนิก
บริษัทเทอร์ร่า จำกัด (2536-2538)
เกียรติประวัติ
q
รางวัลผลงานวิจัยยอดเยี่ยม
ARCC/King Medal for Excellence in Architectural and
Environmental Design Research. จากสถาบัน Architectural
Research Centers Consortium (ARCC) 2004. ประเทศสหรัฐอเมริกา
q
ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับรางวัล
Young Contributor Awards จากสมาคมการจำลองประสิทธิภาพอาคารนานาชาติ
(International Building Performance Simulation Association – IBPSA) ประจำปี 2004
q
รางวัลอาจารย์ดีเด่นผู้ทำชื่อเสียงให้แก่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2547
q
ชนะเลิศการประกวดแบบบ้านประหยัดพลังงานเพื่อนำไปก่อสร้างจริง
จัดโดยมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดยการสนับสนุนของสำนักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ปี 2548
q
ทุนวิจัยโครงการส่งเสริมสมรรถนะและขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
เครือข่ายสถาปัตยกรรมศาสตร์
กรอบวิจัยการพัฒนาเทคโนโลยีทางสถาปัตยกรรมและชุมชนเมืองเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
q
ทุนพัฒนาอาจารย์ใหม่/นักวิจัยใหม่ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ปีงบประมาณ 2547 หัวข้อวิจัยเรื่อง
“การสำรวจความต้องการทางด้านสภาวะน่าสบายของผู้ใช้อาคารประเภทโบสถ์ในเขตกรุงเทพฯ
(Survey of Thermal Comfort Preferences of Occupants in Thai Temples in
q ทุนวิจัย ASHRAE Grant-in-Aid: The
American Society of Heating, Refrigerating, and Air-Conditioning
Engineers-ASHRAE (2542)
q
ทุนการศึกษา
ASHRAE Scholarship: The Houston Chapter of ASHRAE (2541-2545)
q
ทุนการศึกษา-วิจัย
Research Fellowship: Department of Architecture, Texas A&M University
(2545)
q
ทุนวิจัย
CARC Research Grant: College of Architecture, Texas A&M University (2542)
q
ทุนรัฐบาลไทย-ทบวงมหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาอาจารย์สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ (2538)
q
ประกาศนียบัตรการอบรมกฏหมายพลังงานสำหรับสถาปนิกและวิศวกร
การไฟฟ้าฝ่ายผลิต (2537)
q
ประกาศนียบัตรการอบรมผู้นำนิสิต
(ฝ่ายกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2534)
q
ทุนการศึกษา
สนับสนุนผู้นำนิสิตฝ่ายกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2533)
q
เหรียญทองแดง
กีฬาฟันดาบชาย
กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 (2532)
ผลงานวิจัยและบทความวิชาการ
q
อมรรัตน์ พงศ์พิศิษฎ์สกุล, ธนิต จินดาวณิค, ผศ. และ อรรจน์
เศรษฐบุตร, ดร. (2549) การออกแบบบ้านพักอาศัยเพื่อการประหยัดพลังงานด้วยแนวคิดสถาปัตยกรรมยั่งยืน
วารสารวิจัยพลังงาน. ฉบับที่ 3/2549 หน้า 1-30 สถาบันวิจัยพลังงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
q
สุบิน วงศ์ฝั้น, ธนิต จินดาวณิค, ผศ. และ อรรจน์
เศรษฐบุตร, ดร. (2549) แนวทางการใช้รูปแบบการไหลเวียนกระแสลมของเรือนไทยในบ้านพักอาศัย
วารสารวิจัยพลังงาน. ฉบับที่ 3/2549 หน้า 31-50 สถาบันวิจัยพลังงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
q
อธิคม วิมลวัตรเวที, ธนิต จินดาวณิค, ผศ. และ อรรจน์
เศรษฐบุตร, ดร. (2549) แนวทางการออกแบบปรับปรุงบ้านเอื้ออาทรเพื่อสภาวะน่าสบายและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
วารสารวิจัยพลังงาน. ฉบับที่ 3/2549 หน้า 51-88 สถาบันวิจัยพลังงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
q
อธิคม วิมลวัตรเวที, ธนิต จินดาวณิค, ผศ. และ อรรจน์
เศรษฐบุตร, ดร. (2548) อิทธิพลมวลสารและค่าความต้านทานความร้อนของผนังภายนอกต่อการใช้พลังงานและ
สภาวะน่าสบายในอาคารพักอาศัยปรับอากาศระบบผสม (Hybrid Cooling) ในเขตร้อนชื้น เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ เรื่อง
ประสิทธิภาพพลังงานและการประยุกต์ใช้พลังงานทดแทน หน้า 64-87. ห้องประชุมสาระนิเทศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 24 พฤษภาคม 2548.
q
อมรรัตน์ พงศ์พิศิษฎ์สกุล, ธนิต จินดาวณิค, ผศ. และ อรรจน์
เศรษฐบุตร, ดร. (2548) อิทธิพลมวลสารภายในต่อการใช้พลังงานและ
สภาวะน่าสบายในอาคารพักอาศัยปรับอากาศระบบผสม (Hybrid Cooling) ในเขตร้อนชื้น เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ เรื่อง
ประสิทธิภาพพลังงานและการประยุกต์ใช้พลังงานทดแทน หน้า 88-108 ห้องประชุมสาระนิเทศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 24 พฤษภาคม 2548.
q
Sreshthaputra, A., Haberl,
J., and Andrews, M.J. (2004). Improving building design
and operation of a Thai Buddhist temple using transient coupled DOE-2/CFD
simulations. Energy and Buildings Journal. Volume 36, Issue 6, Pages
481-494 (June 2004) Elsevier.
q
อรรจน์ เศรษฐบุตร (2547). สภาวะน่าสบาย (Thermal Comfort). เอกสารประกอบงานสัมมนาวิชาการ Pleasant Built: สร้างสรรค์อาคารสบาย.
งานสถาปนิก ’47 อิมแพค เมืองทองธานี, 1 พฤษภาคม 2547. สมาคมสถาปนิกสยามแห่งประเทศไทย
q
อรรจน์ เศรษฐบุตร (2546). ผลการสำรวจและวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมและสภาวะน่าสบายภายในวัดไทย. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ
Innovation 2003. หน้า 258-265. สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย. พฤษภาคม 2546.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
q
อรรจน์ เศรษฐบุตร (2546) การจำลองสภาพการถ่ายเทความร้อนและการไหลเวียนของอากาศในโบสถ์ ไทย
ด้วยโปรแกรม DOE-2 และ CFD. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ
“สาระศาสตร์สถาปัตย์”
q
อรรจน์ เศรษฐบุตร (2546). ขั้นตอนการบริหารจัดการพลังงานในอาคาร. วารสารวิชาการ “สถาปัตยกรรม”. ฉบับที่ 2/2546 หน้า 60-79 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
q
Claridge, D.,
Abushakra, B., Haberl, J., and Sreshthaputra,
A. (2003). Electricity diversity profiles for energy simulation of office
buildings (ASHRAE 1093-RP). ASHRAE Transactions. American Society of
Heating, Refrigerating, and Air-Conditioning Engineers (Submitted for Review).
q
Haberl, J., Sreshthaputra, A.,
Claridge, D., and Kissock, K.(2003). Inverse Model Toolkit: Application and
Testing. ASHRAE Transaction. 2003 Annual Meeting. The American Society
of Heating, Refrigerating, and Air-Conditioning Engineers.
q
Sreshthaputra, A. (2003).
Building design and operation for improving thermal comfort in naturally
ventilated buildings in a hot-humid climate. Ph.D. Dissertation.
q
Sreshthaputra, A.,
Haberl, J., and Andrews, M.J. (2002). Improving thermal comfort in a Thai
Buddhist temple. IBPSA News 12(1): 24-26.
q
Sreshthaputra, A.,
Haberl, J., and Andrews, M.J. (2002). Improving building design and operation
of a Thai Buddhist temple using coupled DOE-2/CFD simulations. Building
Energy Simulation User News 23(4): pp 8-13. July-August 2002.
q
Sreshthaputra, A.,
Haberl, J., and Andrews, M.J. (2001). 3-D Studies of heat transfer and airflow
in an unconditioned Thai Buddhist temple. Journal of Energy, Heat, and Mass
Transfer 22 (2001): pp 455-471 (Printed in 2002).
q
Haberl, J., Sreshthaputra, A.,
Claridge, D., and Turner, D. (2001). Measured energy use indices for 27 office
buildings. Proceeding of the ICEBO Conference.
q
Sreshthaputra, A.,
Haberl, J., and Claridge, D. (2001). Detailed Test Results: Development of a
toolkit for calculating linear, change-point linear and multiple-linear inverse
building energy analysis models. Technical Report. ESL-TR-01/05-01.
q
Sreshthaputra, A.,
Abushakra, B., Haberl, J., and Claridge, D. (2000). Data visualization for
quality-check purposes of monitored electricity consumption in all office
buildings in the ESL database. Technical Report. ESL-TR-00/03-01.
q
Kootin-Sanwu, V., Sreshthaputra,
A., and Haberl, J. (2000). Short-term monitoring to diagnose comfort
problems in a residence in central
q
Abushakra, B., Haberl, J.,
Claridge, D., and Sreshthaputra, A. (2000). Compilation of diversity
factors and schedules for energy and cooling load calculations. ASHRAE
Research Project 1093. ASHRAE-RP-1093.
งานวิจัย
q หลักเกณฑ์และแนวทางการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร
(เรื่องข้อกำหนดและแนวทางส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในอาคารขนาดต่ำกว่าอาคารควบคุมขนาดใหญ่พิเศษ
ตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร และที่พักอาศัย)
q
โครงการวิจัยเรื่องการสำรวจความต้องการทางด้านสภาวะน่าสบายของผู้ใช้อาคารประเภทโบสถ์ในเขตกรุงเทพฯ
(Survey of Thermal Comfort Preferences of Occupants in
Thai Temples in
q
โครงการวิจัยเรื่องการสร้างแนวทางการออกแบบอาคารเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพในประเทศไทย
(Creating
Design Guidelines for Safe and
q
โครงการวิจัยจัดทำฐานข้อมูลผนังอาคารในประเทศไทย
สำหรับการออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
q
โครงการวิจัยแนวทางการออกแบบภูมิทัศน์โดยรอบอาคาร
เพื่อการประหยัดพลังงาน กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
q
โครงการวิจัยวัสดุผนังเพื่อการประหยัดพลังงาน
สำหรับใช้ในการก่อสร้างอาคารพักอาศัย กรณีศึกษา: โครงการบ้านเอื้ออาทร การเคหะแห่งชาติ
q
โครงการวิจัยเรื่อง Compilation
of diversity factors and schedules for energy and cooling load calculations. ASHRAE
Research Project 1093. โดย The American Society of
Heating, Refrigerating, and Air-conditioning Engineers (ASHRAE).
วิทยากรบรรยายพิเศษ
q
“Building Energy Management: Ways
to improve and maintain the efficiency and productivity of the organization”. งานประชุมสัมมนา Effective Facilities & Maintenance
Management โรงแรม Shangri-La กรุงเทพ. วันที่
14 กรกฎาคม 2549. จัดโดย The Asia Business Forum Co,Ltd.
q
“Lean and Mean Space Planning”. งานประชุมสัมมนา Facilities Management Forum 2006. โรงแรมสวิสโซเทล
กรุงเทพ. วันที่ 24 พฤษภาคม 2549. จัดโดย Double Digits Co,Ltd.
q
“แนวทางการออกแบบบ้านประหยัดพลังงาน”
งานแถลงการณ์เปิดตัวโครงการนำร่องปรับปรุงบ้านพักอาศัยเพื่อการประหยัดพลังงาน
วันที่ 9 พฤษภาคม 2549 โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพฯ
จัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
q
“Energy & Ecology in the
Tropics” (as a moderator) งานสัมมนาวิชาการในงานสถาปนิก’49 ชาเลนเจอร์ฮอลล์
อิมแพค เมืองทองธานี วันที่ 5 พฤษภาคม 2549 จัดโดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
q
“Energy Efficiency in
Residential and
q
“Sustainable Building Design
& Construction”. งานประชุมสหสาขาวิชาการและวิชาชีพ
Innovative Aspects of Building Design and Construction. 16-17 ธันวาคม
2548 ห้องจูปิเตอร์ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ โดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
q
“ความรู้เรื่องพลังงานและสิ่งแวดล้อม”
โครงการอบรมความรู้สำหรับสถาปนิกใหม่ จัดโดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
วันที่ 3 กันยายน 2548 ณ ห้องประชุมใหญ่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
q
“การบริหารจัดการพลังงานในอาคาร
(Building Energy Management)” วิชา Facility and
Energy Management in Buildings. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วันที่ 3 กันยายน 2548
q
“หลักการออกแบบบ้านประหยัดพลังงาน”.
งานประชุมแถลงการณ์โครงการประกวดบ้านจัดสรรประหยัดพลังงาน. วันที่ 4
สิงหาคม 2546. โรงแรมปรินซ์ พาเลส. โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
กระทรวงพลังงาน
q
“Lean and Mean Space Planning”. งานประชุมสัมมนา Facilities Management Forum 2005. โรงแรมแลนด์มาร์ค
กรุงเทพ. วันที่ 6 กรกฎาคม 2548. Double Digits Co,Ltd.
q
“Building Performance
Simulation”. วิชา 2501515: Architectural Seminar คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วันที่ 1 กรกฎาคม 2548.
q
“Introduction to Energy
Management” วิชา Environment Responsive Design. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2548
q
“สภาวะน่าสบาย:
โวหารใหม่ในการออกแบบสถาปัตยกรรม” งานสัมมนาทางวิชาการเรื่อง
หลักการและแนวทางในการออกแบบอาคารประหยัดพลังงาน โครงการ ASA สุดสัปดาห์วิชาการครั้งที่ 2 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ วันที่
29-30 มกราคม 2548
q
“อยู่….และ…คิดอย่างสบายสไตล์ประหยัดพลังงาน” งานเสวนาเชิงวิชาการ งานนิทรรศการมหาวิทยาลัยรวมพลังหารสอง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วันที่ 13 ธันวาคม 2547
q
“เกณฑ์การเลือกซื้อบ้านจัดสรรประหยัดพลังงาน” งานสัมมนาเชิงวิชาการ งานสถาปนิกล้านนา 47. เซ็นทรัลแอร์พอร์ตพลาซ่า
เชียงใหม่ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2547
q
“ความรู้ทางด้านพลังงานที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรม”
โครงการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อสอบรับใบประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม
วันที่ 9-10 ตุลาคม 2547 ห้องประชุม 500 อาคาร ดร. สุข พุคยาภรณ์
มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดโดยสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์
q
“Thermal & IAQ Performance” วิชา AR746: Integrated Building Systems Design. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 6 กันยายน 2547.
q
“Effective O&M Outsourcing” งานประชุมสัมมนา Facilities Management Forum 2004. โรงแรมแลนด์มาร์ค
กรุงเทพ. วันที่ 26 สิงหาคม 2547. Double Digits Co,Ltd.
q
“Way to Make O&M Contracts
More Effectively” งานประชุมสัมมนา Facilities Management
Forum 2004. โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพ. วันที่ 26 สิงหาคม 2547. Double
Digits Co,Ltd.
q
“Retro-Commisioning &
Continuos Commissioning Approaches: Property Orientation” งานประชุมสัมมนา
Facilities Management Forum 2004. โรงแรมแลนด์มาร์ค
กรุงเทพ. วันที่ 25 สิงหาคม 2547. Double Digits Co,Ltd.
q “20 แม่ไม้สำคัญเพื่อการประหยัดพลังงานในบ้านจัดสรร” งานสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง “เกณฑ์ขั้นต่ำในการพิจารณาเลือกซื้อบ้านจัดสรรประหยัดพลังงาน”
ห้องประชุมอาคารสหประชาชาติ. วันที่ 20 สิงหาคม 2547. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานร่วมกับสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
q
“Building Design & Operation
for Improving Thermal Comfort in Naturally-Ventilated Buildings in a Hot-Humid
Climate. วิชา สัมมนาเทคโนโลยีอาคาร ภาควิชาเทคโนโลยีอาคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรี วันที่ 17 กรกฎาคม 2547.
q
“Building Technology Research
Process” วิชา AR741: Building Technology Design-Research 2 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วันที่ 21 กรกฎาคม 2547.
q
“Building Ecology” วิชา 2501515: Architectural Design Seminar คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วันที่ 29 มิถุนายน 2547.
q
“Building Technology Research
Overview” วิชา AR741: Building Technology Design-Research
2 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วันที่ 24 มิถุนายน
2547.
q
“สบาย...สบาย...ไร้ร้อนหนาว”
งานประชุมวิชาการและวิชาชีพ “สร้างสรรค์อาคารสบาย” งานสถาปนิก 47. อิมแพ็ค เมืองทองธานี. วันที่ 1
พฤษภาคม 2547. จัดโดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์.
q
“Building Technology -
Ecological Buildings: State of
q
“การจำลองสภาพการถ่ายเทความร้อนและการไหลเวียนของอากาศในวัดไทย”
งานประชุมวิชาการสาระศาสตร์ ครั้งที่ 7 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วันที่ 21 ตุลาคม 2546
q
“Design-Research in
Environmental Technology” วิชา AR777: Special Topics in
Environmental Technology คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วันที่ 15 สิงหาคม 2546
q
“Research Methodology in
Environmental Technology” วิชา AR641: Building Technology
Design-Research 1 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วันที่ 15 กรกฎาคม 2546.
q
“ผลการสำรวจและวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมและสภาวะน่าสบายภายในวัดไทย”
งานประชุมวิชาการและวิชาชีพสถาปัตยกรรมครั้งที่ 1: Innovation 2003 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
วันที่ 31 พฤษภาคม 2546.
ความสนใจและความชำนาญพิเศษ
q
การบริหารจัดการสาธารณูปโภคอาคาร
(Facilities Management)
q
การจำลองการใช้พลังงานภายในอาคาร
(Building Energy Simulation)
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ DOE-2 และ EnerWIN รวมทั้งการปรับให้ใกล้เคียงกับข้อมูลจริงจากบิลค่าไฟฟ้า (Calibrated
Building Energy Simulation)
q
การจำลองการเคลื่อนที่ของอากาศและความร้อนภายในและภายนอกอาคารแบบ
Transient ด้วย วิธี Numerical
Technique โดยอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computational Fluid
Dynamics (CFD)
q
การวิจัยสำรวจและจัดทำแบบสอบถามสภาวะน่าสบาย
โดยใช้วิธี ASHRAE’s 7-point และ McIntyre’s
3-point Sensation Scale
q
การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติการใช้พลังงานเพื่อวางแผนลดใช้พลังงานในอาคาร
ด้วยวิธี Inverse Modeling หรือ Change-Point Regression Method
q
การบริหารการใช้พลังงานของอาคาร
(Energy Management) โดยเฉพาะอาคารพาณิชย์
และอาคารสถาบันการศึกษา