วิชาารเมืองเรื่องารพัฒนา
(Politics of Development)



                                                                          
| หน้าแรก |

ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

วิชา การเมืองเรื่องการพัฒนา Politics of Development 2401304
ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคต้น ปีการศึกษา 2546
วันจันทร์ 9.00 - 12.00 น. ห้อง 207 ตึก 2
ผู้สอน รองศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา บรรพศิริโชติ ห้องทำงาน 211 ตึก 2 โทร 2187231

เนื้อหารายวิชา
วัตถุประสงค์
วิธีการเรียนการสอน

สื่อการสอน
   
การวัดผล
โครงร่างเนื้อหา
หนังสือประกอบอื่น ๆ
วารสารที่เป็นประโยชน์
การประเมินผล


จำนวนชั่วโมง        14 สัปดาห์ รวม 42 ชั่วโมง( ไม่รวมวันหยุด 1 ครั้ง และ สอบกลางภาค )

เนื้อหารายวิชา
            ทฤษฎีที่ขัดแย้งกันเกี่ยวกับการพัฒนา และการประยุกต์ทฤษฎีกับบทบาทของรัฐและ กระบวนการทางการเมือง กรณีศึกษาการเมืองการพัฒนาในประเทศไทย และในบางประเทศ

วัตถุประสงค์

            1. มีความรู้ความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี และปัญหาการพัฒนา
        2. เข้าใจเนื้อหาของการเมืองผ่านประเด็นเรื่องการพัฒนา
        3. พัฒนาทักษะการใช้วิจารนญาณและการวิเคราะห์การเมืองของการพัฒนา

วิธีการเรียนการสอน
          บรรยาย วิดิทัศน์ สัมมนากลุ่มย่อย อภิปรายโต้แย้ง(โต้วาที) กรณีศึกษา

สื่อการสอน         เอกสารประกอบการสอน วีดิทัศน์

การวัดผล
1. ทบทวนวรรณกรรม 2 เรื่อง เรื่องละ 15 คะแนน    
2. ค้นคว้ากรณีความขัดแย้งและทำรายงานการวิเคราะห์ 1 เรื่อง 30 คะแนน
3. สอบกลางภาค 20 คะแนน
4. สอบปลายภาค 35 คะแนน

Top

โครงร่างเนื้อหา

กรอบการวิเคราะห์การเมืองเรื่องการพัฒนา
สัปดาห์ที่ 1 (2 มิ.ย. ) การวิเคราะห์การพัฒนาด้วยจิตสำนึกทางการเมือง
David Goldsworthy. เขียน, ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล, แปล. มองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์.
          กรุงเทพ ฯ : ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. วาทกรรมการพัฒนา: อำนาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความเป็นอื่น.
          กรุงเทพ ฯ : ศูนย์วิจัยและผลิตตำรา มหาวิทยาลัยเกริก, 2542. บทที่ 1 วาทกรรมกับการพัฒนา, บทที่ 2
          การเมืองกับการศึกษาการพัฒนา, บทที่ 3 การเมืองแบบใหม่

สัปดาห์ที่ 2-3 (9 และ 16 มิ.ย. 2544 )แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนา และการวิพากษ์

Wolfgang Sach, editor, ฉันทนา บรรพศิริโชติ และ สุริชัย หวันแก้ว. บรรณาธิการแปล, ศัพท์การพัฒนา
         คู่มือความรู้สู่อำนาจ, กุรงเทพ ฯ: โครงการศึกษาทางเลือกการพัฒนา สถาบันวิจัยสังคม, 2539. บทที่ 1
         การพัฒนา และ บทอื่น ๆ ตามความสนใจ

Worfgang Sachs, Editors. The Jo'burg Memo: Fairness in a Fragile World, Memorandum for
         the World Summit on Sustainable Development. Berlin: Heinrich Boll Foundation,
         2002.  www.joburgmemo.org

Top

ศุภชัย เจริญวงศ์, เขียน. อรัญญา ศิริผล และ สุรสม กฤษณะจูฑะ, บรรณาธิการ. ถอดรหัสการพัฒนา.
         หนังสือชุดความรู้เล่มที่ 7. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาการเมือง, 2544.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. เส้นผมบังภูเขา ความคิดสามัญเชิงวิพากษ์. หนังสือชุดความรู้ เล่มที่ 8. กรุงเทพฯ :
         สถาบันพัฒนาการเมือง, 2545. ตอนที่ 3 โครงสร้างความยากจนและปัญหาทรัพยากร และตอนอื่น ๆ
         ตามความสนใจ

อนุสรณ์ ไชยพาน บรรณาธิการ. วาระประชาชนเพื่อความเป็นไท ชุดรวบรวมข้อเสนอภาคประชาชน. กรุงเทพฯ:
         คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน (กป.อพช.) 2545.

Top


พระธรรมปิฎก. การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพ ฯ: มูลนิธิพุทธธรรม, 2539.

โครงการอาสาสมัครเพื่อสังคม. แนวคิดในการพัฒนาสังคมไทย
         สรุปการสัมมนาประสบการณ์แนวคิดในการพัฒนา. กรุงเทพ ฯ : โครงการอาสาสมัครเพื่อสังคม, 2527.

สัปดาห์ที่ 4 (23 มิ.ย.) รัฐกับการพัฒนา

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. ไตรลักษณรัฐ กับ การเมืองไทย, กรุงเทพ ฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, 2538 บทที่ 2
         ไตรลักษณรัฐกับการเปลี่นแปลงในสังคมไทย, บทที่ 4 การกำหนดและบริหารนโยบายระดับมหภาค

กุสุมา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และ ชัยอนันต์ สมุทวณิช. สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง. กรุงเทพ ฯ :
          สถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536.

วิวัฒน์ชัย อัตถากร, ผ่าแผน 9 สร้างบ้านไม่ตรงแผน วิเคราะห์แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทุกฉบับ
         กับแนวทางประชาชน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มิ่งมิตร, 2545.

ธรรมรักษ์ การพิศิษฎ์. วิสัยทัศน์การวางแผนพัฒนาประเทศในสหัสวรรษหน้า. นนทบุรี : เพชรรุ่งการพิมพ์, 2453.

กระบวนการพัฒนา
สัปดาห์ที่ 5.(30 มิ.ย) ประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
ฉันทนา บรรพศิริโชติ. "การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อม ปัญหาและแนวทางแก้ไข"
          บทความเสนอในการเสวนา เรื่อง การปฏิบัติตามและการบังคับใช้กฏหมายสิ่งแวดล้อม
          นวัตกรรมการบังคับใช้กฏหมาย จัดโดย กรมควบคุมมลพิษ ณ ศูนย์ประชุมองค์กรสหประชาชาติ 1-2
          ก.พ. 2544.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร และ คณะ. วิถีชีวิต วิธีสู้ ขบวนการประชาชนร่วมสมัย. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์ตรัสวิน, 2545

อมรา พงศาพิชญ์, นิตยา กัทลีรดะพันธุ์, บรรณาธิการ. องค์กรให้ทุนเพื่อประชาสังคมในประเทศไทย.
          กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541

Top

สัปดาห์ที่ 6 (7 ก.ค.) บทบาทองค์กรนอกภาครัฐในกระบวนการพัฒนา

ผาสุก พงษ์ไพจิตร. "บ้านล้อมรัฐ", หน้า 301-324, ใน จรัญ โฆษณานันท์, บรรณาธิการ. วิถีสังคมไท
          สรรนิพนธ์ทางวิชาการเนื่องในวาระหนึ่งศตวรรษ ปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็กในนาม
          โครงการจัดงานฉลอง 100 ปี รัฐบุรุษอาวุโส นายปรีดี พนมยงค์, 2543.

ประภาส ปิ่นตบแต่ง. การเมืองบนท้องถนน 99 วันสมัชชาคนจนและประวัติศาสตร์ การเดินขบวนชุมนุม
        ประท้วงในสังคมไทย, โครงการหนังสือเล่มอันดับ 14. กรุงเทพ:
        ศูนย์วิจัยและผลิตตำรามหาวิทยาลัยเกริก, 2541.

จามรี เชียงทอง. วิวัฒนาการของประชาสังคมในประเทศไทย, กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
        (TDRI), 2543. บทที่ 5 "making civil society work" ประชาสังคมในภาคปฏิบัติ และ NGOs

ประเด็นปัญหาการพัฒนา
สัปดาห์ที่ 7 14 ก.ค. วันเข้าพรรษา

สัปดาห์ที่ 8 ( 21 ก.ค.) วาทกรรมการพัฒนา

ยศ สันตสมบัติ และ อัมมาร สยามวาลา. นิเวศวิกฤต ความรู้กับวิวาทะ, กรุงเทพ ฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย
        และ โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2541.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. วาทกรรมการพัฒนา: อำนาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความเป็นอื่น.
        กรุงเทพ ฯ : ศูนย์วิจัยและผลิตตำรา มหาวิทยาลัยเกริก, 2542. บทที่ 1 วาทกรรมกับการพัฒนา

ศุภชัย เจริญวงศ์, เขียน. อรัญญา ศิริผล และ สุรสม กฤษณะจูฑะ, บรรณาธิการ. ถอดรหัสการพัฒนา.
        หนังสือชุดความรู้เล่มที่ 7. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาการเมือง, 2544. บทที่1
        วาทกรรมและการแย่งชิงความหมาย

สัปดาห์ที่ 9 (21-25 ก.ค.) สอบกลางภาค

Top

สัปดาห์ที่ 10 (28 ก.ค.) โลกาภิวัตน์กับการพัฒนา

สังศิต พิริยะรังสรรค์ และ ผาสุก พงษ์ไพจิตร, บรรณาธิการ. โลกาภิวัตน์กับสังคมเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพ:
        เศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มูลนิธิฟรีดริช เอแบร์ท, 2538.

สุริชัย หวันแก้ว. โลกกว้างจิตแคบ สู่ทางเลือกทางวัฒนธรรมและความเป็นไทยในยุคโลกาภิวัตน์.
        กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, 2545.

สัปดาห์ที่ 11 (4 ส.ค.) สิทธิมนุษยชนกับการพัฒนา

เจริญ คัมภรีภาพ และ คนอื่น. สารัตถะแห่งสิทธิชุมชน หลักการและความเคลื่อนไหวเรื่องสิทธิชุมชนในทรัพยากร
         ชีวภาพและภูมิปัญหาท้องถิ่น. กรุงเทพ ฯ : เครือข่ายสิทธิภูมิปัญญาไทย, 2540.

เสน่ห์ จามริก. สังคมไทยกับการพัฒนาที่ก่อปัญหา, กรุงเทพ ฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2537.

Vitit Muntarbhorn. Human Rights and Human Development : Thailand Country Study.
         Occasional papers, Human Development Report Office' New York: UNDP, 1999.

สัปดาห์ที่ 12 (11 ส.ค.) ความสัมพันธ์หญิงชายในการพัฒนา

ยศ สันตสมบัติ. แม่หญิงสิขายตัว ชุมชนและการค้าประเวณีในสังคมไทย. กรุงเทพ ฯ :
         สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, 2535.

กฤตยา อาชวนิชกุลและ กนกวรรณ ธราวรรณ. "ขบวนการทางสังคม บนมิติการมเองเรื่องเพศและร่างกายผู้หญิง"
         หน้า 34-129. ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร และ คณะ. วิถีชีวิต วิธีสู้ ขบวนการประชาชนร่วมสมัย. เชียงใหม่:
         สำนักพิมพ์ตรัสวิน, 2545.

วรวิทย์ เจริญเลิศ. "คนงานหญิง สหภาพแรงงาน และ เอ็นจีโอ กับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพความปลอดภัย"
         หน้า 130-181. ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร และ คณะ. วิถีชีวิต วิธีสู้ ขบวนการประชาชนร่วมสมัย. เชียงใหม่:
         สำนักพิมพ์ตรัสวิน, 2545.

Top

สัปดาห์ที่ 13 (25 ส.ค., 1 ก.ย.) ผลกระทบการพัฒนา

UNDP, Human Development Report of Thailand. 1999.

ยศ สันตสมบัติ. ท่าเกวียน บทวิเคราะห์เบื้องต้นว่าด้วยการปรับตัวของชุมชนชาวนาไทยท่ามกลางการปิดล้อม
         ของวัฒนธรรมอุตสาหกรรม. กรุงเทพ ฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2539.

ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 2, โครงการตำรา ลำดับ 28
         ศูนย์บริการเอกสารวิชาการ. กรุงเทพ ฯ : คณะเศรษฐศาสตร์ ขุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.

ธารา บัวคำศรี. ลำพูนใต้เงาอุตสาหกรรม บันทึก ความเปลี่ยนแปลงแห่งชีวิตและผลกระทบการพัฒนา
         หลังอุตสาหกรรมภาคเหนือกำเนิดที่ลำพูน. กรุงเทพ ฯ : คณะกรรมการรณรงค์ป้องกันภัยจากสารพิษเคมี,
         2540.

สุริชัย หวันแก้ว. การกลายเป็นชายขอบ .เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการระดับชาติ สาขาสังคมวิทยา
         ครั้งที่ 1 วันที่ 15-16 ธันวาคม 2543 จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ .

สัปดาห์ที่ 14 (8 ก.ย.) คอร์รัปชั่น

เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และ รจิต จิตมั่นชัยธรรม. "การคอร์รัปชั่นในภาคธุรกิจกับบรรษัทภิบาลในประเทศไทย",
         หน้า 173- 205, ใน กนกศักดิ์ แก้วเทพ และ นวลน้อย ตรีรัตน์, 2540 จุดเปลี่ยนประเทศไทย.
         กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฒ 2544

สังศิต พิริยะรังสรรค์ และ ผาสุก พงษ์ไพจิตร บรรณาธิการ. คอรัปชั่นกับประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ :
         ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ, 2537.

นวลน้อย ตรีรัตน์ และ กนกศักดิ์. การต่อต้านทุจริตยา ภาคประชาชน. กรุงเทพฯ :
         ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.

กนกศักดิ์ แก้วเทพ, นวลน้อย ตรีรัตน์, บรรณาธิการ. จุดเปลี่ยนประเทศไทย 2540 กรุงเทพฯ :
         ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ, 2544 Edition พิมพ์ครั้งที่ 1

Top

สัปดาห์ที่ 15 (15 ก.ย.) กิจกรรม อภิปรายโต้แย้ง

สัปดาห์ที่ 16 (22 ก.ย.) วันเริ่มสอบปลายภาค

หนังสือประกอบอื่น ๆ
จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร. วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย วิถีใหม่แห่งการพัฒนา, กรุงเทพ ฯ:
        โครงการส่งเสริมองค์กรพัฒนาเอกชนไทย และ มูลนิธิฟรีดริชเนามัน, 2535.

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. อนิจลักษณะของเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพ ฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2536.

โครงการศึกษาทางเลือกการพัฒนา. การใช้ทรัพยากรกับความขัดแย้งทางสังคม-พลวัตของการเป็นนิคกับ
        ทางเลือกการพัฒนา, ทางเลือกการพัฒนา, ปีที่ 9 (2534).

ชูศักดิ์ วิทยาภัค. สังคมศาสตร์กับการศึกษาคนชายขอบ. สังคมศาสตร์ .ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (ก.ค.-ธ.ค. 2541)

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่
        ขบวนการเคลื่อนไหวประชาสังคมในต่างประเทศ. โครงการหนังสือเล่มอันดับที่ 12. กรุงเทพ ฯ :
        ศูนย์วิจัยและผลิตตำรา มหาวิทยาลัยเกริก, 2540.

บุญตา สืบประดิษฐ์ และ อัจฉรา รักยุติธรรรม, บรรรณาธิการ. 3 ทศวรรษป่าชุมชน
       ท่ามกลางความสับสนของสังคมไทย. เชียงใหม่: มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ, 2542.

ประชา หุตานุวัตร. เรียบเรียง. การเมืองสีเขียว. กรุงเทพฯ : เสมสิขาลัย, 2541.

ประมวล เพชรสว่าง. ป่าไม้กับที่กินทำกิน ข้อเท็จจริง ปัญหา และข้อเสนอแนะ. กรุงเทพ ฯ :
           สถาบันนโยบายศึกษา, 2534.

มูลนิธิชัยพัฒนา. เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง แนวคิดและยุทธศาสตร์. กรุงเทพ ฯ : มูลนิธิชัยพัฒนา, 2541.

ยศ สันตสมบัติ และ อัมมาร สยามวาลา. นิเวศวิกฤต ความรู้กับวิวาทะ, กรุงเทพ ฯ:
          มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย และ โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2541.

Top

Vandana Shiva, et.al. เขียน.ยศ สันตบัติ และ วิทูรย์ ปัญญากุล, แปลและเรียบเรียง.
          ความหลากหลายทางชีวภาพ มิติทางสังคมและนิเวศ, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
          สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา และ โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2537.

นันทวัฒน์ ปรมานันท์. รายงานการวิจัยเรื่องแนวทางในการส่งเสริมการดำเนินการขององค์กรพัฒนาเอกชน
         ศึกษาเฉพาะกรณีกฏหมายและระเบียบต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา. กรุงเทพ:
         มูลนิธิอาเซียและภาคีความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการพัฒนา, 2541.

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ. คนจนไทยในภาวะวิกฤติ. กรุงเทพ ฯ : ศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง, 2541.

David Beetham and Kevin Boyle, เขียน, ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล, แปล. ไขข้อสงสัยประชาธิปไตย.
         กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.

พระธรรมปิฎก. มองอเมริกา มาแก้ปัญหาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธรรม, 2541.

สุทิน บุญญาธิการ และคนอื่น. รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารการมีส่วนร่วมของประชาชน
         กรณีศึกษาโครงการที่มีผลกระทบต่อประชาชน, เอกสารวิชาการ สดร 17/2539. กรุงเทพ ฯ :
         สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, 2539.

เสน่ห์ จามริก. ฐานคิดสู่ทางเลือกใหม่ของสังคมไทย. วิถีทรรศน์ ภูมิปัญญาชุดที่ 3. กรุงเทพ ฯ :
        โครงการวิถีทรรศน์, 2541.

อนุชาติ พวงสำลี และ อรทัย อาจอ่ำ. การพัฒนาเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตในสังคมไทย. กรุงเทพ:
         สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2539.

Najma Sadque, อุษณีย์ พรหมมาศ, แปล. ใครครองโลก, กรุงเทพ ฯ :
         โครงการศึกษาและปฏิบัติงานการพัฒนา สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.

เอนก นาคะบุตร. จุดเปลี่ยนการพัฒนาชนบทและองค์กรพัฒนาเอกชนไทย. กรุงเทพ ฯ :
          สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, 2533.

Top

เอนก เหล่าธรรมทัศน์, เขียน, สายทิพย์ สุขคติพันธ์, แปลและเรียบเรียง.
          มองเศรษฐกิจการเมืองไทยผ่านการเคลื่อนไหวของสมาคมธุรกิจ. กรุงเทพฯ:
          โครงการจัดพิมพ์คบไฟ มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา, 2539.

วารสารที่เป็นประโยชน์

โลกสีเขียว นิเวศวิทยา สังคมพัฒนา บัณฑิตอาสาสมัคร
อนุรักษ์ ปาจารยสาร ทิศทางไทย พัฒนบริหารศาสตร์
ธรรมศาสตร์ ผู้ไถ่ เศรษฐกิจสังคม มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา
รัฐศาสตร์สาร สังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ร่มพฤกษ์
เศรษฐศาสตร์การเมือง มูลนิธิอารมณ์พงศ์พงัน Resurgence Thai Development Newsletter
การเมืองใหม่ ประชาสังคม

ป x ป

พันธมิตรสิทธิมนุษยชน
และอื่น ๆที่นิสิตค้นพบ

การประเมินผล
1. อ่านและทบทวนวรรณกรรม งานวิชาการ 1 เรื่อง (10 คะแนน)
2. การอภิปรายโต้แย้งเป็นกลุ่ม (debate) (10 คะแนน)
3. สอบกลางภาค (25 คะแนน)
4. บทความส่วนบุคคล 1 ฉบับ (10 คะแนน)
5. สอบปลายภาค (30 คะแนน)
6. การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน-การร่วมกิจกรรม การแสดงความเห็น ค้นคว้า วิดิทัศน์ (15 คะแนน)

Top