http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~nnatwade Natwadee Nantapinai

Natwadee Nantapinai
นี่คือตัวต้านทานชนิดค่าคงที่ ทำด้วยคาร์บอน



http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~nnatwade ผลการตรวจเลือดของสาทร
ตารางการอ่านค่าตัวต้านทาน 4 แถบสี
แถบสี แถบที่ 1 แถบที่ 2 แถบที่ 3 แถบที่ 4
ดำ 0 0 x1 -
น้ำตาล 1 1 x10 -
แดง 2 2 x100 -
ส้ม 3 3 x1000 -
เหลือง 4 4 x10000 -
เขียว 5 5 00000 -
น้ำเงิน 6 6 000000 -
ม่วง 7 7 0000000 -
เทา 8 8 - -
ขาว 9 9 - -
ทอง - - 0.1 5%
เงิน - - 0.01 10%
ไม่มีสี - - - 20%
ความต้านทานในวงจรต่าง ๆ อาจมีค่าได้ตั้งแต่ 2-3 โอห์ม ไปถึงจำนวนเป็นล้าน เราสามารถคำนวณค่าความต้านทานจากแถบสีต่าง ๆ บนตัวต้านทาน เรียกว่า เป็นการอ่านค่าตัวต้านทานตามรหัสแถบสี การอ่านค่าทำได้ ดังนี้
แถบสี 2 แถบแรกบอกให้ทราบถึงตัวเลข 2 ตัวแรกของค่าความต้านทาน แถบที่ 3 บอกให้ทราบว่าต้องเติม 0 กี่ตัวลงไปที่ข้างหลังตัวเลข 2 ตัวแรก(บางตำราบอกว่า แถบที่ 3 คือ ตัวคูณ)


Links to: |ลักษณะและชนิดของตัวต้านทาน |การอ่านค่าตัวต้านทาน |การวัดค่าตัวต้านทาน |สร้างวงจรไฟฟ้าทดสอบตัวต้านทาน |แบบทดสอบ